มังกรดำ 23 พฤศจิกายน 2563 - 13:38 เมื่อ ซุนยัตเซ็น ชูสามนิ้ว 三民主义 rate ถูกใจ รัก ฮ่าฮ่า ว้าว เศร้า ถูกใจ1 รัก3 ฮ่าฮ่า4 ว้าว1 เศร้า2 Email Facebook Twitter LinkedIn 6 ความเห็น มังกรดำ เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน เพื่อแสดงความคิดเห็น 23 พ.ย. 2020 13:39 : 182869 民族 民權 民生 ถูกใจ รัก ฮ่าฮ่า ว้าว เศร้า ถูกใจ1 รัก1 ฮ่าฮ่า1 ว้าว0 เศร้า3 มังกรดำ เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน เพื่อแสดงความคิดเห็น 23 พ.ย. 2020 13:40 : 182870 ซุนยัตเซ็ต ผู้นำม็อบ มุ๊งมิ๊ง ในครั้งนั้น ถูกใจ รัก ฮ่าฮ่า ว้าว เศร้า ถูกใจ1 รัก3 ฮ่าฮ่า5 ว้าว1 เศร้า2 มังกรดำ เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน เพื่อแสดงความคิดเห็น 23 พ.ย. 2020 13:43 : 182872 三民主义 ตำเหม่นตุ๊หงี่ - สามหลักการแห่งประชาชน 民族; - "ประชาชาติ" 民權; - "ประชาสิทธิ์" 民生; - "ประชาชีพ" ลัทธิไตรราษฎร์ หรือ สามหลักการแห่งประชาชน 三民主义 / 三民主義; ตำเหม่นตุ๊หงี่ (ไหหน่ำ) (ซ่ามิ่นจูหงี-จีนกลาง) Three Principles of the People เป็นปรัชญาการเมืองซึ่ง ซุน ยัดเซ็น พัฒนาขึ้นเป็นส่วนหนึ่งของปรัชญาที่ทำให้ประเทศจีนเป็นดินแดนอันเสรี รุ่งเรือง และทรงอำนาจ ลัทธิไตรราษฎร์ประกอบด้วยหลักการ สามข้อ "ประชาชาติ" (民族; เหม่นตก people's rule) คือ ความนิยมชาติ "ประชาสิทธิ์" (民權; เหม่นเข่น people's right) คือ ประชาธิปไตย "ประชาชีพ" (民生; เหม่นเตง people's livelihood) คือ ความอยู่สุขสวัสดีของผองชน การนำหลักการทั้งสามไปใช้นั้นก่ออิทธิพลและผลลัพธ์ที่เด่นชัดที่สุดเป็นการจัดระเบียบบริหารราชการแผ่นดินของสาธารณรัฐจีนในไต้หวัน อนึ่ง ปรัชญานี้ถูกอ้างว่าเป็นรากฐานที่สำคัญของนโยบายของสาธารณรัฐจีนซึ่งดำเนินการโดย พรรคก๊กมินตั๋ง (國民黨) หลักการเหลานี้เป็นดังเสาค้ำชาติไต้หวันที่ แบกไว้บนบ่า หลักการทั้งสามยังปรากฏในท่อนแรกของเพลงชาติสาธารณรัฐจีนด้วย ค.ศ. 1894 เมื่อมีการก่อตั้งสมาคมฟื้นฟูประเทศจีน (ซิงจงฮุ่ย) ในขณะนั้น ดร.ซุน ยัตเซ็น มีเพียงสองหลักการ ชาตินิยม และ ประชาธิปไตย เท่านั้น ดร.ซุนได้หยิบความคิดที่สาม คือ สวัสดิการ หรือ ความเป็นอยู่ของประชาชน ระหว่างการเดินทางสามปีของเขาไปที่ยุโรป จากปี ค.ศ. 1896 ถึง ค.ศ. 1898[1] เขาประกาศแนวคิดทั้งสามในฤดูใบไม้ผลิปี ค.ศ. 1905 ระหว่างเดินทางไปยุโรปอีกครั้ง ดร.ซุนกล่าวสุนทรพจน์ครั้งแรกในชีวิตของเขาเกี่ยวกับ "สามหลักการของประชาชน" ใน บรัสเซลส์[2] ดร.ซุนสามารถรวบรวมสมาชิกและจัดระเบียบสมาคมซิงจงฮุ่ย ในหลาย ๆ เมืองในยุโรป ในขณะนั้นมีสมาชิกประมาณ 30 คนในสาขาบรัสเซลส์ สมาชิก 20 คนใน เบอร์ลินและ 10 คนใน ปารีส[2] ในภายหลังจากได้มีการก่อตั้งขบวนการถงเหมิงฮุ่ยแล้ว ดร.ซุน ได้ตีพิมพ์บทบรรณาธิการลงในหนังสือพิมพ์ หมินเปา (民報) นี่เป็นครั้งแรกที่ความคิดถูกแสดงออกเป็นลายลักษณ์อักษร ต่อมาในฉบับครบรอบของ หมินเปา สุนทรพจน์อันยาวนานของดร.ซุนในหลักการสามประการถูกตีพิมพ์และบรรณาธิการของหนังสือพิมพ์ได้กล่าวถึงประเด็นการดำรงชีวิต ของเพลงชาติสาธารณรัฐจีนด้วย อุดมการณ์กล่าวกันว่าได้รับอิทธิพลอย่างมากจากประสบการณ์ของดร.ซุน ขณะพำนักอยู่ในสหรัฐอเมริกาและมีองค์ประกอบของขบวนการก้าวหน้าของชาวอเมริกันและแนวความคิดของอับราฮัม ลินคอล์น ซุนให้เครดิตหนึ่งบรรทัดจากสุนทรพจน์ที่เกตตีสเบิร์กของลินคอล์น "รัฐบาลของประชาชน โดยประชาชน เพื่อประชาชน" เป็นแรงบันดาลใจให้กับหลักการสามประการของดร.ซุนมาใช้ในประเทศจีน[2] หลักสามประการของประชาชนของเฝดร.ซุนเชื่อมโยงระหว่างกันเป็นแนวทางในการพัฒนาสิ่งใหม่ๆ เพื่อให้จีนเข้าสู่ยุคสมัยใหม่ โดยมีผู้ขับเคลื่อนที่สำคัญคือ หู ฮั่นหมิน ถูกใจ รัก ฮ่าฮ่า ว้าว เศร้า ถูกใจ1 รัก3 ฮ่าฮ่า1 ว้าว2 เศร้า2 มังกรดำ เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน เพื่อแสดงความคิดเห็น 23 พ.ย. 2020 13:46 : 182873 แล้ว เหมา ล่ะ ? ใช้หลักการ ลัทธิไตรราษฎร์ หรือ สามหลักการแห่งประชาชน 三民主义 ด้วยหรือไม่ ? ถูกใจ รัก ฮ่าฮ่า ว้าว เศร้า ถูกใจ0 รัก0 ฮ่าฮ่า3 ว้าว4 เศร้า2 3 ส เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน เพื่อแสดงความคิดเห็น 23 พ.ย. 2020 15:22 : 182883 ราษฎร 63 ถูกใจ รัก ฮ่าฮ่า ว้าว เศร้า ถูกใจ1 รัก2 ฮ่าฮ่า0 ว้าว0 เศร้า2 AlfaOne เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน เพื่อแสดงความคิดเห็น 23 พ.ย. 2020 15:34 : 182889 เห็นด้วยกับ ดร.ชุน ท่านเหมาก็ไม่ได้คอมฯ จ๋า สักทีเดียว เหมือน 112 ใต้หวัน ฮ่องกง ด่าผู้นำจีนไม่ได้ เหมือนคนละ จว (สาธารณรัฐ) บ้านเรา ก็ กทม พัทยา หรือพวกเทศบาลอำเภอ จังหวัด อย่าไปกดกันขนาดนั้น ถูกใจ รัก ฮ่าฮ่า ว้าว เศร้า ถูกใจ2 รัก1 ฮ่าฮ่า0 ว้าว0 เศร้า3 กระทู้อื่นที่โพสต์โดย มังกรดำ 1 ระวัง สร้างสถานการณ์ เผาบ้านเผาเมือง 28 กุมภาพันธ์ 64 - 20:48 3 2 เห็นรูปนี้แล้ว ...นึกถึง สายัณห์ ... 24 กุมภาพันธ์ 64 - 20:15 1 3 วันนี้ ถ้า กปปส. โดน ..... “ควายก็ออกลูกเป็นหมา” ... คือ ... เป็นไปไม่ได้ที่จะโดน 24 กุมภาพันธ์ 64 - 15:45 7 4 เฮ้ยยยยย...งงๆๆๆๆๆๆ เว้ย...เต้อภิปราย ฉะประยุทธ !!!! 19 กุมภาพันธ์ 64 - 0:34 3 5 บอร์ดวันนี้ เข้ามา รู้สึกดีขึ้นนะ 17 กุมภาพันธ์ 64 - 22:39 1 advertisement
6 ความเห็น
民族
民權
民生
ซุนยัตเซ็ต ผู้นำม็อบ มุ๊งมิ๊ง ในครั้งนั้น
三民主义 ตำเหม่นตุ๊หงี่ - สามหลักการแห่งประชาชน
民族; - "ประชาชาติ"
民權; - "ประชาสิทธิ์"
民生; - "ประชาชีพ"
ลัทธิไตรราษฎร์ หรือ สามหลักการแห่งประชาชน 三民主义 / 三民主義; ตำเหม่นตุ๊หงี่ (ไหหน่ำ) (ซ่ามิ่นจูหงี-จีนกลาง)
Three Principles of the People
เป็นปรัชญาการเมืองซึ่ง ซุน ยัดเซ็น พัฒนาขึ้นเป็นส่วนหนึ่งของปรัชญาที่ทำให้ประเทศจีนเป็นดินแดนอันเสรี รุ่งเรือง และทรงอำนาจ
ลัทธิไตรราษฎร์ประกอบด้วยหลักการ สามข้อ
"ประชาชาติ" (民族; เหม่นตก people's rule) คือ ความนิยมชาติ
"ประชาสิทธิ์" (民權; เหม่นเข่น people's right) คือ ประชาธิปไตย
"ประชาชีพ" (民生; เหม่นเตง people's livelihood) คือ ความอยู่สุขสวัสดีของผองชน
การนำหลักการทั้งสามไปใช้นั้นก่ออิทธิพลและผลลัพธ์ที่เด่นชัดที่สุดเป็นการจัดระเบียบบริหารราชการแผ่นดินของสาธารณรัฐจีนในไต้หวัน อนึ่ง
ปรัชญานี้ถูกอ้างว่าเป็นรากฐานที่สำคัญของนโยบายของสาธารณรัฐจีนซึ่งดำเนินการโดย พรรคก๊กมินตั๋ง (國民黨)
หลักการเหลานี้เป็นดังเสาค้ำชาติไต้หวันที่ แบกไว้บนบ่า หลักการทั้งสามยังปรากฏในท่อนแรกของเพลงชาติสาธารณรัฐจีนด้วย
ค.ศ. 1894 เมื่อมีการก่อตั้งสมาคมฟื้นฟูประเทศจีน (ซิงจงฮุ่ย)
ในขณะนั้น ดร.ซุน ยัตเซ็น มีเพียงสองหลักการ ชาตินิยม และ ประชาธิปไตย เท่านั้น
ดร.ซุนได้หยิบความคิดที่สาม คือ สวัสดิการ หรือ ความเป็นอยู่ของประชาชน ระหว่างการเดินทางสามปีของเขาไปที่ยุโรป จากปี ค.ศ. 1896 ถึง ค.ศ. 1898[1] เขาประกาศแนวคิดทั้งสามในฤดูใบไม้ผลิปี ค.ศ. 1905 ระหว่างเดินทางไปยุโรปอีกครั้ง ดร.ซุนกล่าวสุนทรพจน์ครั้งแรกในชีวิตของเขาเกี่ยวกับ "สามหลักการของประชาชน" ใน บรัสเซลส์[2] ดร.ซุนสามารถรวบรวมสมาชิกและจัดระเบียบสมาคมซิงจงฮุ่ย ในหลาย ๆ เมืองในยุโรป ในขณะนั้นมีสมาชิกประมาณ 30 คนในสาขาบรัสเซลส์ สมาชิก 20 คนใน เบอร์ลินและ 10 คนใน ปารีส[2] ในภายหลังจากได้มีการก่อตั้งขบวนการถงเหมิงฮุ่ยแล้ว ดร.ซุน ได้ตีพิมพ์บทบรรณาธิการลงในหนังสือพิมพ์ หมินเปา (民報) นี่เป็นครั้งแรกที่ความคิดถูกแสดงออกเป็นลายลักษณ์อักษร ต่อมาในฉบับครบรอบของ หมินเปา สุนทรพจน์อันยาวนานของดร.ซุนในหลักการสามประการถูกตีพิมพ์และบรรณาธิการของหนังสือพิมพ์ได้กล่าวถึงประเด็นการดำรงชีวิต
ของเพลงชาติสาธารณรัฐจีนด้วย
อุดมการณ์กล่าวกันว่าได้รับอิทธิพลอย่างมากจากประสบการณ์ของดร.ซุน ขณะพำนักอยู่ในสหรัฐอเมริกาและมีองค์ประกอบของขบวนการก้าวหน้าของชาวอเมริกันและแนวความคิดของอับราฮัม ลินคอล์น ซุนให้เครดิตหนึ่งบรรทัดจากสุนทรพจน์ที่เกตตีสเบิร์กของลินคอล์น "รัฐบาลของประชาชน โดยประชาชน เพื่อประชาชน" เป็นแรงบันดาลใจให้กับหลักการสามประการของดร.ซุนมาใช้ในประเทศจีน[2] หลักสามประการของประชาชนของเฝดร.ซุนเชื่อมโยงระหว่างกันเป็นแนวทางในการพัฒนาสิ่งใหม่ๆ เพื่อให้จีนเข้าสู่ยุคสมัยใหม่ โดยมีผู้ขับเคลื่อนที่สำคัญคือ หู ฮั่นหมิน
แล้ว เหมา ล่ะ ?
ใช้หลักการ ลัทธิไตรราษฎร์ หรือ สามหลักการแห่งประชาชน 三民主义 ด้วยหรือไม่ ?
ราษฎร 63
เห็นด้วยกับ ดร.ชุน ท่านเหมาก็ไม่ได้คอมฯ จ๋า สักทีเดียว เหมือน 112 ใต้หวัน ฮ่องกง ด่าผู้นำจีนไม่ได้ เหมือนคนละ จว (สาธารณรัฐ) บ้านเรา ก็ กทม พัทยา หรือพวกเทศบาลอำเภอ จังหวัด อย่าไปกดกันขนาดนั้น